การพิมพ์ 3 มิติได้ปฏิวัติกระบวนการผลิตและสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ และการพิมพ์ 3 มิติด้วยเรซินได้ยกระดับประสบการณ์ไปอีกขั้น อย่างไรก็ตาม เช่นเดียวกับเทคโนโลยีอื่นๆ ก็มักจะมีปัญหาเกิดขึ้นระหว่างกระบวนการ อะไรคือปัญหาที่พบบ่อยที่สุดที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการพิมพ์ 3 มิติด้วยเรซิน และวิธีแก้ไขปัญหาเหล่านี้? วิธีแก้ไขปัญหาการพิมพ์ 3 มิติ 4 ปัญหาที่พบบ่อย การแก้ไขปัญหาการพิมพ์ 3 มิติไม่จำเป็นต้องซับซ้อนมากนัก ปัญหาที่พบบ่อยและวิธีแก้ปัญหาคืออะไร? ปัญหา #1 –
Category: Support
บทความ ข้อมูลการแก้ปัญหา 3D Printer, 3D Scanner, Laser เบื้องต้น เกี่ยวเนื่องกับสอนการแก้ปัญหา หรือ หลักการการใช้เครื่อง ข้อมูลเชิงเทคนิค เรียนรู้การซ่อม 3D Printer ได้เอง
แก้ปัญหาท่อหลุดบนเครื่อง Creator3 Series
Flashforge Creator3 เป็นเครื่องพิมพ์สามมิติแบบสองหัวอิสระแบบระบบ Direct Drive ที่ไม่จำเป็นต้องมีมอเตอร์อยู่บริเวณห้องใส่เส้นเพราะหัวฉีดจะมีหน้าที่ดึงได้เองจึงมีเพียงแค่ท่อนำเส้นจากห้องใส่เส้นมาห้องพิมพ์เท่านั้น แต่ผู้ใช้งานเครื่องนี้หลายท่านจะเจอปัญหาท่อจะหลุดกระจายอยู่ในเครื่องหากไม่ได้ทำการใส่เส้นเข้าหัวฉีดทั้งสองหัวทำให้ท่อไปขวางทางเดินหัวบ้าง ถ้าไม่ใช้ก็ต้องหาทางพับเก็บบ้าง แต่ถึงอย่างนั้นท่อที่ว่าก็ไม่ได้ส่งผลเสียกับตัวงานแต่อย่างใดครับ……แต่ก็น่ารำคาญอยู่ดี วันนี้ได้มีไฟล์มาแจกครับ ซึ่งจะเป็นfittingล็อกท่อที่ประกอบกับไฟล์ตัวล็อกของเราอีกทีครับ ชิ้นส่วนที่ต้องการ – C3 nut X 2 – C3 Locknut X 2 -Fittingล็อกท่อขนาด PC4-01 x
Sakun.C EV Bus รถบัสไฟฟ้าฝีมือคนไทย
สำหรับมหกรรมยานยนต์ ครั้งที่ 43 (ฺBangkok International Motor show 2022) ได้รวบรวมนวัตกรรมยานยนต์ที่น่าสนใจจากค่ายรถยนต์ชั้นนำเอาไว้มากมาย หนึ่งในไฮไลท์ที่น่าสนใจคือ รถยนต์พลังงานไฟฟ้าที่กำลังได้รับความนิยมในตอนนี้ ซึ่งเป็นรถยนต์ที่เข้ามาตอบโจทย์ในเรื่องของการสนับสนุนการใช้พลังงานทดแทนในปัจจุบัน ทำให้ผู้บริโภคอย่างเรามีทางเลือกในการใช้งานมากยิ่งขึ้น และนอกเหนือจากรถยนต์พลังงานไฟฟ้าที่กำลังทำการตลาดในส่วนของรถยนต์นั่งบุคคลแล้ว รถยนต์โดยสารสาธารณะก็มีการนำนวัตกรรมนี้เข้าไปใช้เช่นกัน วันนี้ SAKUN C INNOVATION ร่วมกับ Dfine จะพาทุกท่านไปร่วมสัมผัสประสบการณ์ใหม่ผ่านรูปแบบ Virtual View ที่จะมอบประสบการณ์เสมือนจริง
สร้างรายได้จาก Matterport ลงทุนกี่บาท? Virtual Experience ทำงานเห็นจากโลกเสมือน
จากบทความที่แล้ว เราได้เห็นประโยชน์จาก Matterport ไปแล้วเป็นการสร้างประสบการณ์เสมือน Virtual Experience กับพื้นที่ Space หนึ่งๆ นำไปต่อยอดใช้งานเชิงพาณิชน์มากมายทั้งการขายของ Virtual Commerce, การท่องเที่ยวเสมือน Virtual Tour, การใช้เชิงสถาปัตย์-วิศวกรรม-ก่อสร้าง AEC Architect-Engineer-Construction เหมือนเราเข้าไปเดินในสถานที่จริงได้จากที่บ้าน ได้ทั้งแว่น VR, Smart Phone, Tablet, PC
Virtual Tour คืออะไร
ทัวร์เสมือนจริงที่เป็นการจำลองตำแหน่งต่างๆที่มีอยู่โดยทั่วไปซึ่งจะประกอบไปด้วยการลำดับของวิดีโอหรือภาพนิ่ง นอกจากนี้ยังอาจใช้องค์ประกอบต่างๆเข้ามาช่วยให้เข้าถึงได้ง่ายมากขึ้น และสนุกไปกับการทัวร์โลกเสมือนได้อย่างมีประสิทธิภาพไม่ว่าจะเป็นเรื่องของ แสง สี เสียง สภาพแวดล้อมต่างๆรอบด้าน ทั้งหมดนี้จะนำพาคุณไปยังสถานที่ต่างๆได้อย่างรวดเร็ว และถ่ายทอดออกมาในรูปแบบต่างๆได้เป็นอย่างดีไม่ว่าจะ Social Media , vr , ar หรือตามแพลตฟอร์มต่างๆ และในตอนนี้ก็เริ่มเป็นกระแสกันอย่างกับสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ เพราะจะเปิดประสบการณ์การท่องเที่ยวรูปแบบใหม่ที่ไม่จำเป็นต้องออกจากบ้าน หรือ การไปช้อปปิ้ง เพื่อที่จะได้เห็นสินค้าก่อนจะได้ช่วยในการตัดสินใจได้มากขึ้นอีกด้วย เพียงแค่นี้ก็สามารถท่องโลกกว้างได้ง่ายๆแค่ปลายนิ้วสัมผัส นอกจากนี้ทางเราก็ได้มีการจัดทำ Virtual Tour
Matterport of the Week EP.3 วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร
ไปไหว้พระกันเถอะทุกคน วันนี้ Matterport of the Week ขอพาทุกคนไปสถานที่ท่องเที่ยวที่อยู่ในกรุงเทพมหานครที่อยู่ไม่ไกลกันครับ นั่นก็คือวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร แหล่งโบราณสถานเก่าแก่คู่ฝั่งธนบุรีที่เหล่าบรรดานักท่องเที่ยวทั้งไทย และต่างประเทศนิยมพากันมาเยี่ยมชมกันอย่างไม่ขาดสาย และทุกวันนี้บริเวณโดยรอบวัดก็ปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะกับการพักผ่อนหย่อนใจไม่น้อยเลย ในการสแกนพื้นที่ของเรานั้นเรา เริ่มจากการสแกนจากถนนเส้นหน้าพระปรางค์ก่อน แต่อุปสรรคสำคัญเลยก็คือบรรดานักท่องเที่ยวที่เข้ามาอย่างไม่ขาดสาย ทีมงานแอบหวั่นใจอยู่บ้างว่าอาจจะสแกนไม่ได้ แต่ Matterport Pro3 ของเรานั้นเก่งกว่าที่คาดไว้ครับ สามารถสแกนได้อย่างต่อเนื่องไม่มีสะดุด แม้นักท่องเที่ยวจะมีปริมาณมากแค่ไหนก็ไม่เป็นปัญหาของ MatterportPro3 เลยครับ นอกจากนั้นอีกอุปสรรค์หนึ่งที่เลี่ยงไม่ได้คือ สภาพแดดจัดในการสแกน
4 สิ่งที่ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพการแสกน 3 มิติ
ประสิทธิภาพการสแกน 3 มิติคืออะไร? ประสิทธิภาพการสแกน 3 มิติเป็นองค์ประกอบสำคัญที่ต้องพิจารณาเมื่อเลือกสแกนเนอร์ 3 มิติ มันจะกำหนดความเร็วที่คุณสามารถสแกน 3D วัตถุต่างๆ มีหลายปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการสแกน 3 มิติ: ● ระยะห่างของจุด ● อัตราเฟรม (FPS) ● มุมมอง (FOV) ● ขนาดวัตถุ ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการสแกน
รวม 5 ของอัพเกรดให้ Creator Pro เจ๋งขึ้น
flashforge Creator pro เป็นเครื่องพิมพ์เครื่องแรกๆของใครหลายๆคน เมื่อประมาณ5ปีที่แล้ว Creator Pro เป็นหนึ่งในเครื่องพิมพ์สามมิติที่ลูกค้าในหลายๆคนต่างเทใจบอกพร้อมกันว่า”อึด ถึก ทน” ถึงแม้จะเก่าแต่รุ่นนี้เรายังมีอะไหล่ซัพพอร์ตอยู่นะครับ วันนี้เราได้รวมรวม 5 ของที่จะอัพเกรดให้เครื่องของคุณใ้งานได้ดีขึ้นกันครับ ซึ่งทั้งหมดที่เลือกมานี้เราได้ใช้งานทั้งหมดและมีลุกค้าบางส่วนก็ทำใช้แล้วเช่นกัน 1.ปากเป่าพัดลม ปากเป่าพัดลมดั้งเดิมของเครื่องนั้นไม่ได้แย่อะไรขนาดนั้นครับ แต่ด้วยปากพัดลมที่อยู่ด้านซ้ายมือสุดทำให้การเป่างานที่หัวขวาทำได้ไม่ดีนัก การเปลี่ยนปากพัดลมนี้จะบังคับให้พัดลมเป่าชั้นงานเป่าที่ปลายหัวแีดของทั้งสองหัวในเวลาเดียวกันครับ ซึ่งทำให้สามารถเป่างานได้ทั้งสองหัว แล้วด้วยรูปแบบใหม่นี้บังคับใ้พัดลมก้มลงในแนวเฉียงทำให้ลมโดนชิ้นงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยที่หกลังจากพิมพ์เสร็จสาามารถใส่แทนปากพัดลมของเดิมได้ทันที ดาวน์โหลดไฟล์ได้ที่นี่ คลิก วัสดุที่ใช้
5 Tips นักออกแบบมือใหม่สำหรับงาน 3D Printing
สำหรับนักออกแบบมือใหม่ที่เริ่มหัดใช้3D Printerนั้นก็เริ่มกำลังเรียนรู้การออกแบบไฟล์กันอย่างแน่นอน ในช่วงแรกๆทุกคนก็คงจะโหลดไฟล์จากอินเทอร์เน็ตมาพิมพ์กันเป้นปกติอยุ่แล้วและถึงเวลที่เราจะต้องมีชิ้นงานเป็นของตัวเองซักที แต่ัญหาคือ ทำไมเวลาเอาไปใช้งานจริงถึงใช้งานไม่ได้กันนะ? ทำไมถึงพิมพ์ออกมาไม่เห็นเหมือนกับที่ออกแบบไว้เลย? พิมพ์ติดบ้างไม่ติดบ้าง? วันนี้ผมจะมาแนะนำ 5 Tip การออกแบบไฟล์ให้สามารถพิมพ์ได้อย่างลุล่วง 1.ออกแบบบนพื้นผิวที่เรียบ ในข้อนี้ถือเป็นข้อสำคัญที่สุดเลยก็ว่าได้ครับสำหรับผุ้ที่ใช้งานเครื่องพิมพ์ระบบ FDM เพราะเครื่องระบบนี้จะพิมพ์บนฐานพิมพ์หรือBed ซึ่งแน่นอนว่าพลาสติกที่ถูกฉีดออกมานั้นจะต้องลงไปเกาะบนฐานพิมพ์ในชั้นแรกสุด ดังนั้นชั้นแรกของตัวงานที่ลงไปเกาะบนฐานรองพิมพ์นั้นจะต้องมีพื้นที่ที่มากพอสมควร หากพื้นที่ที่ติดฐานพิมพ์น้อยเกินไปจะส่งผลให้ชิ้นงานหลุดอออกจากฐานพิมพ์การก่อนที่งานจะเสร็จได้เลย 2.หลีกเลี่ยงส่วนที่เป็น Steep overhang หรือส่วนที่มีการเอียงแบบสูงชัน Steep overhang เป็นมุมของตัวงานที่มีลักษณะเอียงยื่นออกมาจากตัวงานในแนวตั้งฉาก
Layer shift เรื่องเล็กที่ไม่เล็ก ต้องระวัง!!!!!!!!!!!!
สำหรับผู้ใช้งานเครื่องพิมพ์สมมิติระบบ FDM มือเก๋าหลายๆท่านน่าจะทราบกันดีว่าพอเครื่องเริ่มเก่าแล้วก็มักจะเริ่มมีปัญหาจุกจิกตามมาพอสมควร ทั้งพิมพ์ไม่สวย พิมพ์ไม่ตรง ความร้อนเพี้ยน และอื่นๆอีกมากมายที่กล่าวถึงไม่หมดครับ แต่วันนี้เราจะมาพูดถึงปัญหา Layer shiftกันครับ Layer Shift คืออะไร? layer shift หรืออาการหลุดสเต็ป อาการนี้คือเครื่องจะมีลักษณะการพิมพ์งานไม่ตรงจุดเดิมซึ่งอาจจะเบี้ยวหรืออาจจะหลุดจากแนวเดิมที่เคยพิมพ์ไว้(งานเสียรูปจะเป็นอีกกรณีนึง) ซึ่งสามารถเกิดได้หลายแบบและหลายครั้งในการพิมพ์งานครั้งเดียว โดยสามารถดูงานเสีของอาการเหล่านี้ได้จากรุปด้านล่างครับ ต้นเหตุของ layer shift ต้นเหตุของอาการนี้มีหลากหลายมากครับแต่โดยส่วนใหญ่แล้วปัญหาจะมาจากตัวเครื่องพิมพ์เป็นหลักครับ เพราะสาเหตุใหญ่ของอาการLayer shift
How to พิมพ์ABS อย่างไรให้ปัง
ABS หรือชื่อเต็มคือ Acrylonitrile butadiene styrene เป็นหนึ่งในพลาสติกที่นิยมกันในหมู่ผู้ใช้งานเครื่องพิมพ์สามมิติระบบFDM จำนวนไม่น้อย เพราะด้วยคุณสมบัติของตัวเส้นที่มีคุณสมบัติเชิงกลที่ดีเยี่ยม มีความต้านทานต่ออุณหภูมิที่สูงกและการจัดการกระบวนการเก็บงานหลังจากพิมพ์นั้นทำได้ง่าย เมื่อเปรียบเทียบกับพลาสติกพื้นฐานอย่างPLA และ PETG ซึ่งABS จะอยู่ตรงกลางระหว่างนี้ ถึงแม้ว่าPLAนั้นจะพิมพ์ได้ง่ายกว่าแต่ในส่วนของการเก็บงานนั้นABS จะทำได้ดีกว่า PETG แต่PETGเองนั้นมีข้อดีคือระหว่างพิมพ์นั้นแทบจะไม่มีกลิ่นเล้ดลอดออกมาเลยและไม่ค่อยมีการโก่งตัวเหมือนกับABS แต่ถึงอย่างนั้นABSก็ยังคงเป็นที่นิยมเพราะด้วยราคาที่ไม่สูงมากเมื่อเทียบกับพลาสติกเกรดอุตสาหกรรมชนิดอื่นๆ และยังสามารถประยุกต์ใช้ได้หลากหลายมากกว่า นั่นจึงทำให้การที่จะสร้างงานต้นแบบ(Prototype)นั้น ABS ก็ถือเป็นตัวเลือกระดับต้นๆเลยทีเดียว ทำอย่างไรให้งาน ABS
อาการ Cupping บนเครื่องเรซิ่นคืออะไร แก้อย่างไร
อย่างที่ทราบกันดีว่าการพิมพ์งานด้วยเครื่องพิมพ์สามมิติระบบเรซิ่นจะทำงานด้วยการจุ่มฐานลงไปในน้ำเรซิ่นและทำการฉายแสงเพื่อให้น้ำเรซิ่นแข็งติดกับฐานพิมพ์ จากนั้นก็ยกขึ้นจากน้ำยาและทำแบบเดิมซ้ำๆในชั้นถัดไป ซึ่งระหว่างที่แท่นพิมพ์นั้นยกขึ้นก็ทำให้เกิดแรงตึงอย่างหมาศาลบนแผ่นฟิล์มที่ถาดน้ำยาบางครั้งทำให้งานเสียหายระหว่างที่แท่นพิมพ์ยกขึ้น แรงดึงมหาศาลนี้ทำให้เกิดอาการที่เรียกว่า cupping Cupping blowout หรือ Suction Cups อาการCupping blowout หรือที่เราเรียกกันสั้นๆว่า Cupping นั้นเกิดจากตัวงานที่วางอยู่ในลักษณะเหมือนถ้วยคว่ำซึ่งส่งผลทำให้อากาศภายในตัวงานไม่เกิดการไหลเวียนภายในตัวงานมีลักษณะคล้ายสุญญากาศ ส่งผลให้อากาศจากภายนอกพยายามเข้าไปด้านในชิ้นงานและกดตัวงานเอาไว้ทำให้การยกชิ้นงานขึ้นนั้นต้องใช้แรงจำนวนมาก ขณะเดียวกันด้านล่างของถาดน้ำยานั้นคือฟิล์มFEPที่มีความตึงสูงมาก และแน่นอนแรงตึงผิวระหว่างฟิล์มและชิ้นงานนั้นจะสูงมากเช่นกันก็จะส่งผลให้ต้องใช้แรงดึงชิ้นงานเพิ่มขึ้นอีกเท่าตัว เครื่องพิมพ์ทุกเครื่องนั้นสามารถยกงานขึ้นมาได้แน่นอน แต่ปัญหาที่ตามมาคือชิ้นงานอาจจะแตกระหว่าที่ดึงงานขึ้นมา อาการcuppingนั้นจะเกิดบ่อยมากกับเครื่องพิมพ์ที่ทำงานแบบTop-down(ฐานพิมพ์อยู่ด้านบนและจุ่มลงไปในถาดน้ำยาดด้านล่าง) และเครื่องราคาเริ่มต้นจนถึงเครื่องระดับกลางนั้นจะใช้ระบบนี้กันเกือบทั้งหมด และยิ่งเครื่องยิ่งใหญ่มากก็จะทำให้ปัญหาCuppingเกิดมากขึ้นไปอีก จริงๆแล้วปัญหาCuppingนั้นเป็นปัญหาประจำตัวของเครื่องพิมพ์เรซิ่นแบบTop-downอยู่แล้วและทุกครั้งที่พิมพ์งานก็จะมีอาการนี้ทุกครั้งเพราะฐานพิมพ์จะจุ่มแนบกับฟิล์มในถาดน้ำยาอยู่แล้วและทำการดึงออกมา ซึ่งแน่นอนว่าเราหลีกเลี่ยงไม่ได้ครับแต่เราทำให้ผลกระทบกับตัวงานนั้นน้อยลงได้
ปัญหาการคาริเบรตชั่นไม่สำเร็จ (3D Scan Calibration issue)
ส่วนใหญ่แล้ว ความยุ่งยากในการ Calibration มักเกี่ยวข้องกับ การตั้งค่าคอมพิวเตอร์ ที่ไม่ถูกต้อง ด้วยเหตุนี้ เราขอแนะนำให้ดูบทความ ตั้งค่าคอมพิวเตอร์ของคุณ ในกรณีที่คุณทำตามคำแนะนำในการตั้งค่าแล้ว และยังไม่สามารถปรับเทียบได้ โปรดดูวิธีแก้ไขปัญหาต่อไปนี้: 1. ตรวจสอบให้แน่ใจว่าคุณได้ทำตามขั้นตอนสำหรับกระบวนการสอบเทียบอย่างละเอียด โปรดตรวจสอบว่าตำแหน่ง calibration board ถูกต้อง เช่นเดียวกับตำแหน่งสแกนเนอร์ คุณสามารถดูวิดีโอสนับสนุนสำหรับแต่ละขั้นตอน ซึ่งแสดงทางด้านซ้ายของหน้าจอการ calibration ในโปรแกรม 2. หลีกเลี่ยงแหล่งกำเนิดแสงโดยตรง
Support – Creator Pro 2
>> Download – โปรแกรม Creator Pro2 ที่นี่ << >> Download – คู่มือ Creator Pro2 ที่นี่ <<
ย้ายจุดหมุน (Origin) บนโปรแกรมแสกนเนอร์
สำหรับเพื่อนๆ ที่มีปัญหาในการเคลื่อนย้าย จุดหมุนชิ้นงาน หรือ จุดออริจิน (Origin) วันนี้ 3DD Digital Fabrication มีตัวอย่างการย้ายจุดหมุน บนโปรแกรม แสกนเนอร์ ครับ สำหรับโมเดล ทีไ่ด้จากการแสกนจุดหมุนจะไม่ได้อยู่กลางโมเดล หรือ จะสลับกันไปมา เราสามารถใช้คำสั่งโปรแกรม Exscan ได้เลยโดยเราจะ ไปที่หน้า Measurement แล้วโหลดไฟล์เข้ามา หลังจากนั้นเราจะต้องสร้าง
กรอบรูปด้วยเครื่อง Laser
วันนี้จะมาเสนอการทำกรอบรูปด้วย laser และนำไปใช้งานจริงให้ดูกันนะครับ โดยการใช้งานมีวิธีที่ค่อนข้างง่าย แต่ใช้งานได้จริง เครื่อง laser ที่เราใช้ในครั้งนี้ คือ เครื่อง Ray9 ซึ่งมีพื้นที่การทำงาน ถึงขนาด 900*600 mm สามารถตัดได้ทั้ง ไม้, แผ่นพลาสติกต่างๆ เช่น Acrylic, PolyCabonate, Plaswood, HIPS, ไม้อัด, ไม้จริง,
ทำความรู้จัก”กระจกสะท้อน” จากเครื่อง Laser Co2
สวัสดีเพื่อนๆ 3DD ทุกคนครับ วันนี้พวกเรามีความรู้มานำเสนอเกี่ยวกับเครื่องเลเซอร์ CO2 โดยแหล่งกำเนิดแสงของ Laser ชนิดนี้มาจากหลอด CO2 โดยทั่วๆไปจะมีกำลัง 30-180Watt โดยมีความยาวคลื่น 10.6 uM (10600 nm) เป็นความยาวคลื่นที่ตาเรามองไม่เห็น ไม่จำเป็นต้องใส่แว่นป้องกัน เลเซอร์ชนิด CO2 จะเป็นเลเซอร์ที่นิยมใช้มากที่สุด ทำงานได้หลากหลาย แต่เน้นไปที่วัสดุอโลหะ โดยวันนี้เรามาทำความรู้จักกับกระจกสะท้อนว่ามีความสำคัญยังไง เนื่องจากลำแสงมีทิศทางเดียวที่แน่นอน
กำจัดสนิมด้วยเลเซอร์
สวัสดีเพื่อนๆ 3DD DIGITAL FABRICATION ทุกคนครับ วันนี้มีงาน DIY ลอกสนิมหรือกำจัดสนิมด้วยเครื่องเลเซอร์ สำหรับการทำให้เครื่องมือหรืออุปกรณ์ของเราดูใหม่ไม่เก่าขึ้นมาทันที โดยตัวอุปกรณ์ที่มีชื่อว่า Ray mark หรือเครื่องแกะสลักพื้นผิว Laser Marker มาจัดการสนิมที่เกิดขึ้นกับของของเรา มาดูกันว่าจะเป็นยังไง จากนั้นมาเริ่มจัดการกันเลย เป็นไงครับ ไม่ได้มีดีแค่แกะสลักผิว
Free Hook Pegboard you can try
สวัสดีเพื่อนๆ 3DD DIGITAL FABRICATION ทุกคนครับ วันนี้มีงาน DIY ตะขอแขวนเครื่องมือ Pegboard เอาใจสายcreative โดยครั้งนี้เราจะมาออกแบบและสร้างขึ้นมาเองกันเลยครับ โดยใชเครื่องพิมพ์สามมิติ และใช้วัสดุเป็น ABS และสำหรับโครงสร้าง การออกแบบ เราจะใช้โปรแกรม Solid Edge ในการสร้างไฟล์ CAD นั่นเอง และ Export เป็น .STL
Preview sheet metal cut
สวัสดีเพื่อนๆ 3DD ทุกคนครับ วันนี้มีงาน DIY ตัดแผ่นเหล็กป้ายหน้าออฟฟิตแบบคูลๆ เอาใจสายcreative โดยครั้งนี้จะใช้วัสดุเป็นแผ่นเหล็กบาง 1 มิลลิเมตร และตัดด้วยเครื่องเลเซอร์ Ray13 METAL และสำหรับโครงสร้าง การออกแบบ เราจะใช้โปรแกรม Adobe illustrator ในการสร้างไฟล์ Vector นั่นเอง หลังจากนั้นจะนำไฟล์ไปเปิดในโปรแกรม RDworkV8 เพื่อไปตั้งค่า ความเร็ว