ขอขอบคุณ บริษัท K Dental Lab ที่อุดหนุนเครื่องพิมพ์สามมิติ ระบบเรซิ่น DLP Printer ไปใช้ในการพิมพ์งานด้านทันตกรรม โมเดลฟัน, เพื่อการจัดฝันครอบฟัน 3D Printer : MiiCraft125
Tag: [Medical Solutions]
บทความ ข้อมูล ข่าว การใช้ 3D Printer, Scanner เชิงการแพทย์ เช่นการวินัจฉัยโรค พิมพ์ออกมาด้วย เครื่องพิมพ์อวัยวะ 3มิติ การพิมพ์ชิ้นส่วนร่างกายมนุษย์จากเซลล์ของคนนั้น การพิมพ์กระดูกไททาเนียมเพื่อการปลูกถ่าย ใช้ CT Scan, MRI ได้ไฟล์ Dicom มาออกแบบ หรือ วางแผนการรักษา
สถาปนิก60 2-7พค.60
พบกันที่งานสถาปนิก60 Impact 2-7พค.นี้ Booth C702 อยู่หลังสุด Challenger3 (สังเกตเสา 50-51) เราเอาเครื่อง 3D Printer ไปโชว์ – FF Hunter, FF Guider2, FF Creator Pro – FF Finder, Max350
ลูกค้า : ทันตแพทยศาสตร์ มหิดล
ขอขอบคุณ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหิดล ที่อุดหนุนเครื่องพิมพ์สามมิติ ระบบเรซิ่น DLP Printer ไปใช้ในการพิมพ์งานด้านทันตกรรม เพื่อการจัดฝันครอบฟัน , การพิมพ์เพื่อไปหล่อชิ้นงาน, ทำการวิจัย และสอนนักศึกษาต่อไป 3D Printer : MiiCraft125
ลูกค้า : Dentaneer
ขอขอบคุณ บริษัท Dentaneer ที่อุดหนุนเครื่องพิมพ์สามมิติ ระบบเรซิ่น DLP Printer ไปใช้ในการพิมพ์งานด้านทันตกรรม โมเดลฟัน, เพื่อการจัดฝันครอบฟัน , การพิมพ์เพื่อไปหล่อชิ้นงาน บริษัทใหม่ ใหญ่โต มีมาตรฐาน สมกับที่เป็นบิ๊ก 1 ใน 3 ของประเทศ 3D Printer : MiiCraft125
ลูกค้า : PC Dental Lab
ขอขอบคุณ บริษัท PC DENTAL LAB ที่อุดหนุนเครื่องพิมพ์สามมิติ ระบบเรซิ่น DLP Printer ไปใช้ในการพิมพ์งานด้านทันตกรรม โมเดลฟัน, เพื่อการจัดฝันครอบฟัน , การพิมพ์เพื่อไปหล่อชิ้นงาน บริษัทใหม่ ใหญ่โต มีมาตรฐาน สมกับที่เป็นบิ๊ก 1 ใน 3 ของประเทศ 3D Printer :
ลูกค้า : Medical Engineering ลาดกระบัง
ขอขอบคุณ Medical Engineering พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ที่อุดหนุนเครื่องพิมพ์สามมิติ FullScale Max350 และเครื่องสแกน 3มิติ ไปใช้ในการพิมพ์งาน วิจัย เกี่ยวงานทางการแพทย์ ต่อไปครับ 3D Printer : FullScale Max350 3D Scanner : Sense 3D Scanner
ลูกค้า : แพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ขอขอบคุณ คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่อุดหนุนเครื่องสแกนสามมิติ David SLS3 และเครื่องพิมพ์ FullScale Max450 ไปใช้ในการสแกนเชิงการแพทย์ สแกนกระดูก สรีรศาสตร์ ในการทำวิจัย สอนนักศึกษาแพทย์ 3D Scanner : David SLS3 3D Printer : FullScale Max450
Review Flashforge Hunter เครื่องพิมพ์ 3มิติ ระบบเรซิ่น
Flashforge Hunter เป็นเครื่องพิมพ์ ระบบเรซิ่น DLP Printer (ใช้ UV Projector เป็นแหล่งกำเนิดแสง) ความละเอียดของจุดแสงคือ 0.0625mm (ค่าละเอียดตามแนวระนาบ(XY) ยิ่งน้อยยิ่งละเอียด), ความละเอียดในแนวดิ่ง 0.025mm และ 0.05mm (ค่าละเอียดในแนวดิ่ง(Z)/ความของของแต่ละชั้น(layer thickness) ตัวเครื่อง ตัวเครื่องออกมาหล่อ/ดูดีเอาการ ดูเหมือน Flashforge เน้นการดีไซน์มากขี้น
ทำความเข้าใจไฟล์ STL สำหรับเครื่องพิมพ์ 3D
เราจะมาแนะนำวิธีการตั้งค่าความละเอียดที่เหมาะสมของไฟล์ STL เพื่อไม่ให้งานที่พิมพ์หยาบเกินไป หรือไฟล์ที่ได้มีขนาดใหญ่เกินความจำเป็น ทำความรู้จักกันก่อน ในขณะที่รูปแบบของไฟล์สามมิติที่จะนำไปใช้พิมพ์กับเครื่องพิมพ์สามมิติมีอยู่หลายรูปแบบ เช่น .OBJ, .3DP, ฯลฯ แต่รูปแบบ .STL (Standard Triangle Language) กลายเป็นมาตรฐานอุตสาหกรรม และถูกใช้อย่างกว้างขวาง โปรแกรม CAD เกือบทั้งหมดสามารถบันทึกไฟล์งานในรูปแบบของ .STL ได้ จากนั้นมันจะถูกนำไปแปลงค่าอีกครั้งหนึ่งในโปรแกรม Slicer ให้อยู่ในรูปแบบ
ลูกค้า : แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ขอขอบคุณ คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ที่อุดหนุนเครื่องสแกนสามมิติ David SLS3 และเครื่องพิมพ์ ไปใช้ในการสแกนเชิงการแพทย์ สแกนอวัยวะ เพื่อไปทำอุปกรณ์ประกอบการสอนทางการแพทย์ 3D Scanner : David SLS3
ลูกค้า : ทันตแพทยศาสตร์ ม.สงขลา
ขอขอบคุณ คณะทันตแพทยศาสตร์ ม สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ที่อุดหนุนเครื่องพิมพ์สามมิติ Flashforge Creator Pro และเครื่องสแกนเนอร์สามมิติ David SLS3 / HP 3D Scanner Pro S3 ไปใช้ในการพิมพ์งานด้านทันตกรรม เพื่อการจัดฝันครอบฟัน , การพิมพ์เพื่อไปหล่อชิ้นงาน, ทำการวิจัย และสอนนักศึกษาต่อไป รวมถึงการทำศัลยกรรมรูปหน้า Note : เรามีโอกาศได้เห็นการทำใบหู
ลูกค้า : โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
ขอขอบคุณ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ที่อุดหนุนเครื่องพิมพ์สามมิติ Flashforge Guider เพื่อใช้ในกิจการของโรงพยาบาล 3D Printer : Flashforge Guider
ทำความรู้จัก 3D Printer, 3D Scanner, Laser CNC นวัตกรรมเปลี่ยนโลก
สวัสดีครับ หลายคนเคยเห็นเครื่องพิมพ์สามมิติ หรือเคยได้ยินมาบ้าง ว่าเป็นเทคโนโลยีเปลี่ยนโลก แต่ไม่รู้จะเริ่มศึกษาจากที่ไหน ทางเราปริ๊นท์3ดีดี ทำบทความสรุปมาให้ทุกคนได้ดูครับ น่าจะเป็นประโยชน์ให้กับมือใหม่ 3D Printer โดยจะเป็นการอธิบายอะไรคือเครื่องพิมพ์3มิติ, มีกี่ประเภท, การเลือกซื้อให้เหมาะกับการใช้งาน, รีวิวเครื่อง 3D Printer รุ่นต่างๆ ทั้งนี้นอกจาก FDM 3D Printer, SLA Printer เราได้รวมบทความที่เกี่ยวข้องกับ 3D
การพิมพ์สามมิติคืออะไร – เตรียมพิมพ์ / What is 3D Printing? – Getting Start
เริ่มต้นการพิมพ์สามมิติ พร้อมที่จะเริ่มเข้าสู่การปฏิวัติอุตสาหกรรมกันอีกครั้งแล้วใช่ไหมครับ มาดูกันว่าเราจะดึงไอเดียที่เรามีในสมอง ให้กลายมาเป็นวัตถุที่จับต้องได้อย่างไร ก่อนอื่นเราก็ต้องมีแบบที่พร้อมจะพิมพ์ จากนั้นเราก็ต้องมีเครื่องพิมพ์สามมิติ หรือจะไปใช้บริการจากผู้ให้บริการพิมพ์งานสามมิติก็ได้ เพื่อให้ง่ายแก่การเข้าใจ เราจะอธิบายเป็นขั้นตอนดังต่อไปนี้ เราจะได้ไฟล์งานสามมิติมาจากไหน? เริ่มกันจากพื้นฐานกันเลย ในการพิมพ์สามมิติ ก่อนอื่นจะต้องมีโมเดลเป็นไฟล์สามมิติเสียก่อน ซึ่งหมายถึงไฟล์ที่ประกอบด้วยข้อมูลตัวเลขที่ระบุขนาดของวัตถุทั้งสามมิติ คือกว้าง ยาว ลึก(หรือสูง) โมเดลสามมิติถูกสร้างขึ้นมาจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ประเภท computer-aided design หรือ CAD มีโปรแกรมประเภทนี้อยู่มากมาย ที่ช่วยให้การออกแบบง่ายขึ้นในคอมพิวเตอร์ แทปเล็ต
การพิมพ์สามมิติคืออะไร – วัสดุพิมพ์ / What is 3D Printing? – Materials
Materials พลาสติกอเนกประสงค์ ABS และ PLA เป็นวัสดุที่เหมาะกับการเริ่มต้น ราคาไม่แพง ทนทาน หาได้ง่าย มีให้เลือกหลายสี เหมาะกับการสร้างต้นแบบของชิ้นส่วนเครื่องกล และงานออกแบบที่ไม่มีส่วนยื่นจำนวนมาก การพิมพ์ด้วยพลาสติกชนิดนี้จะมีข้อจำกัดบางประการ โมเดลที่มีส่วนยื่นเอียงลาดมากกว่า 45 องศาต้องมีการสร้าง support เพิ่มเติม มิฉะนั้นจะพิมพ์ไม่ได้ และบางส่วนของโมเดลที่มีความหนาน้อยกว่า 1 ม.ม. อาจจะพิมพ์ไม่ได้
การพิมพ์สามมิติคืออะไร – เทคโนโลยีการพิมพ์ / What is 3D Printing? – Technologies
เทคโนโลยีของเครื่องพิมพ์สามมิติ เครื่องพิมพ์สามมิติแต่ละระบบทำงานอย่างไร เครื่องพิมพ์สามมิติไม่ว่าจะเป็นระบบใดก็ตามจะสร้างวัตถุขึ้นมาจากไฟล์สามมิติทีละชั้น ๆ เพียงแต่ระบบหนึ่ง ๆ จะมีวิธีการเฉพาะตัว เพื่อไม่ให้เกิดความสับสน เราทำ Infographic ของเครื่องพิมพ์ทุกระบบมาเปรียบเทียบให้เข้าใจได้ง่าย โดยจัดเป็นกลุ่ม ระบบ ชื่อระบบ วัสดุที่ใช้ และยี่ห้อที่มีจำหน่ายในท้องตลาด คลิ๊กที่รูปเพื่อขยาย กับคำถามที่ว่าเทคโนโลยีแต่ละแบบทำงานอย่างไร และผลงานที่ได้ออกมาหน้าตาเป็นอย่างไร ระบบการพิมพ์แต่ละแบบมีข้อดี-ข้อด้อยอย่างไร? ในบทต่อไปนี้จะแสดงให้เห็นว่าระบบต่างๆ ทำงานอย่างไรโดยละเอียด Fused Filament
15 อุปกรณ์เสริม GoPro สุดแนว
เชื่อว่าแทบทุกคนจะรู้จักกล้อง GoPro กันเป็นอย่างดี มันถูกออกแบบมาให้ใช้บันทึกภาพกิจกรรมเอ็กซ์ตรีมทั้งหลาย เช่นปั่นจักรยานวิบาก เล่นสกี วินด์เซิร์ฟ หรือแม้แต่ติดกับโดรน ในการนำไปใช้กับกิจกรรมต่างๆ ก็ต้องมีอุปกรณ์เสริมให้เหมาะกับการผจญภัยในแบบต่างๆ มีนักออกแบบทั่วทุกมุมโลกได้ออกแบบอุปกรณ์เสริมมากมายที่น่าสนใจและน่าใช้ โดยสามารถพิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์สามมิติได้อย่างสบาย ๆ เราขอรวบรวมบางส่วนที่เจ๋งๆ มาให้เพื่อเป็นการกระตุ้นต่อมผจญภัยของทุกท่านดังต่อไปนี้ 3D printed GoPro Steadicam เวลาถ่ายวิดีโอแล้วภาพออกมาสั่นๆ มันช่างเป็นสิ่งที่น่าเบื่อสำหรับมือใหม่หัดถ่าย อุปกรณ์กันสั่นก็เป็นสิ่งจำเป็นที่ขาดไม่ได้ อุปกรณ์กันสั่นที่จะช่วยให้ถ่ายวิดีโอให้นิ่ง ดูเป็นมือโปรมากที่สุดที่จะมาแนะนำมีหลายตัวเช่น 3D
ลูกค้า : แพทยศาสตร์ จุฬา กายวิภาค
ขอขอบคุณ คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่อุดหนุนเครื่องสแกนสามมิติ Sense 3D Scanner และเครื่องพิมพ์ FullScale Max300 ไปศีกษาเรื่องการทำเฝือกเทียม และ อุปกรณ์สำหรับผู้พิการ โดยใช้เครื่องพิมพ์สามมิติ และเครื่องสแนกสามมิติ 3D Scanner : Sense 3D Scanner 3D Printer : FullScale Max300
แพทย์ศัลยกรรมเมืองลอนดอนใช้เครื่องพิมพ์ 3 มิติสร้างกระดูกจำลองเพื่อวางแผนการผ่าตัด
ในปัจจุบันเราสามารถพบเห็นเครื่องพิมพ์ 3 มิติตามโรงพยาบาลได้มากขึ้น โดยเฉพาะการใช้เครื่องพิมพ์ 3 มิติช่วยในด้านสร้างแบบจำลองเพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับงานผ่าตัดที่มีความซับซ้อน ย้อนกลับไปเมื่อเดือนเมษายนปี้นี้มีทารกที่แรกเกิดเป็นโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด ทางโรงพยาบาลได้ใช้แบบจำลองที่สร้างจากเครื่องพิมพ์ 3 มิติเข้ามาช่วยเพื่อลดความผิดพลาดในการผ่าตัด ในอนาคตเครื่องพิมพ์ 3 มิติจะเข้ามามีบทบาทในด้านสร้างแบบจำลองการผ่าตัดทำให้แพทย์สามารถศึกษาอาการของผู้ป่วยได้ง่ายขึ้นและประหยัดค่าใช้จ่าย แพทย์ศัลยกรรมทางด้านกระดูก ดร.โกลดี้ ได้รักษาผู้ป่วยที่เกิดที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนโดยเฉพาะที่เกิดจากนักกีฬาเช่น นักกีฬาเทนนิสมีปัญหาด้านกระดูกข้อมือและหัวไหล่ ส่วนนักกีฬากอล์ฟมีปัญหาด้านกระดูกสันหลังกดทับเส้นประสาท ก่อนการผ่าตัดส่วนใหญ่แล้วใช้การทำ CT scans เพื่อดูความผิดปกติของผู้ป่วยแต่ยังไม่เพียงพอกับการผ่าตัดที่มีความซับซ้อน
ลูกค้า : แพทยศาสตร์ ศิริราช
ขอขอบคุณ คณะแพทย์ศาสตร์ ศิริราช ที่อุดหนุนเครื่องสแกนสามมิติ David SLS3 ไปใช้ในการสแกนเชิงการแพทย์ สแกนอวัยวะ เพื่อไปทำอุปกรณ์ประกอบการสอนทางการแพทย์ 3D Scanner : David SLS3