เมื่อไม่นานมานี้ ได้รับสายจากช่างโถ หาดใหญ่ว่าต้องการ เครื่องแกะสลัก Raymark เพื่อนำไปต่อยอดธุรกิจสาย 2ล้อ ที่รับเฉพาะรถสนามเท่านั้น! ต้องบอกเลยว่าช่างโถ ไม่ธรรมดา เพราะมีการันตรีความซิ่งด้วย ถ้วยรางวัลที่เพียบ! Raymark 30HD จะช่วยในธุรกิจได้หลายอย่างมากๆ เช่นนำไปสร้างแบรนด์ หรือสร้างสินค้าของตัวเอง เพราะตัวเครื่อง Raymark นั้นสามารถแกะสลักได้บทโลหะ และอโลหะ หลังจากที่ได้มีการสั่งสินค้าเข้ามา ทางเราก็ได้ทำการจัดส่งสินค้าไปให้ถึงที่ และทำการเข้าเทรนนิ่ง สอนการใช้งานเบื้องต้นให้ถึงที่ร้านของช่างโถ
Tag: [Packaging Solutions]
บทความ ข่าว ข้อมูล ใช้ 3D Printer, Scanner, Laser มาออกแบบบรรจุภัณฑ์ การออกแบบขวด ภาชนะ ขึ้นต้นแบบ ถึงขั้นผลิตเพื่อใช้จริง Thermo Forming เทคโนโลยีใหม่ๆเพื่อลดต้นทุนการผลิต ออกแบบงานที่สวยงาม เฉพาะตัว มากขึ้น
korat matsushita กับการส่งมอบเครื่อง RayMark ที่สามารถแกะสลักได้ทุกวัสดุ
korat matsushita บริษัทผู้ผลิตเกี่ยวกับสินค้าประเภทสเตนเลส ที่รับตั้งแต่ชิ้นเล็กไปจนถึงชิ้นใหญ่ ซึ่งตั้งอยู่ที่จังหวัดโคราช ได้เล็งเห็นว่า เครื่องเลเซอร์ RayMark สามารถเพิ่มการผลิต หรือในการรับงานการผลิตของลูกค้าบริษัทได้ จึงได้จัดเครื่อง Raymark 30HD Station เพื่อนำไปต่อยอด ทางทีมงานได้ทำการจัดส่งถึงที่บริษัทเลย และทำการติดตั้งพร้อมสอนการใช้งานเบื้องต้น ทาง Print3dd ต้องขอขอบคุณ korat matsushita Co,.Ltd ที่ให้การสนับสนุนพวกเรา
Webinar : Flashforge Adventurer4 Seminar Solution FDM 17/09/2021 AT 10:00AM
3D Solution คืออะไร ? 3D Solution เรียกได้ว่าเป็นการประยุกต์ใช้ Digital Fabrication – 3D Printer, Scanner, Laser มาช่วยแก้ปัญหา ลดต้นทุน ลดเวลาการผลิต ในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น วงการวิศวกรรม การฉีดพลาสติก การผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ การศึกษา โรงเรียน
พิพิธภัณฑ์เหรียญกษาปณานุรักษ์ สั่งซื้อRaymark เอาไปบริการผู้เข้าใช้งาน Museum Shop ได้แกะสลักเหรียญของตัวเองถึง2เครื่อง
พิพิธภัณฑ์เหรียญกษาปณานุรักษ์ หรือ กรมธนารักษ์ เป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่ด้านการผลิตและการบริหารจัดการเหรียญกษาปณ์ให้เพียงพอต่อความต้องการ ใช้ในระบบเศรษฐกิจ การดูแลทรัพย์สินตามหลักการอนุรักษ์ เพื่อธำรงไว้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ นอกจากนี้กรมธนารักษ์ยังมีบทบาทอีกประการหนึ่ง คือ การเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับเหรียญ และวิวัฒนาการเงินตราไทย รวมทั้งเหรียญนานาชาติ และการสั่งซื้อเครื่องครั้งนี้ ได้นำไปใช้ในส่วนงานทางด้านการบริการของ Museum Shop ซึ่งเป็นที่ขายของที่ระลึกของ พิพิธภัณฑ์เหรียญกษาปณานุรักษ์ โดยนำไปใช้ให้เกิดประโยนช์ เช่นการสั่งทำของชำร่วย ของฝาก การทำเหรียญของตัวเอง และอื่นๆ เนื่องจาก Raymark
Seenam Handcraft จัดเครื่องใหญ่ Ray13 Smart Co2 Laser
Seenam Handcraft บริษัทเกี่ยวกับงานไฟเบอร์ระดับพรีเมี่ยม ออกแบบ เขียนแบบ เขียนไฟล์3D ปั้นModel ซึ่งเป็นบริษัทที่ใช้ 3D Printer เป็นหลักอยู่แล้ว แต่วันนี้ได้สั่งซื้อเครื่อง Ray13 ที่มีขนาดการตัดอยู่ที่ 1300*900mm และกำลังของหัว Laser CO2 Tube 130Watt ที่สามารถตัดอะครีลิกได้หนาสุด 40mm+ นำไปใช้ในการพัฒนาธุรกิจ ทำการจัดส่งให้ถึงที่ ต้องบอกเลยว่า
แกะสลักไม้พาราประสานด้วยเครื่องเลเซอร์ !
สวัสดีครับ วันนี้พวกเรา Print3DD มีงานแกะสลัก สวยๆ มาให้ชมกันครับ โดยครั้งนี้ เราได้นำหน้าไม้พาราประสาน ขนาด 120*60 เซนติเมตร มาแกะสลักด้วยเครื่อง Laser cutting Machine Ray13 ครับ โดยเราจะนำไฟล์ภาพ JPEG มาแกะสลัก แต่ก่อนไปแกะแนะนำว่าให้ตรวจเส้น สี ของภาพซะก่อนครับ เพื่อความคมชัดของชิ้นงาน เริ่มต้นด้วย
Filamentที่ใช้ได้อย่างยั่งยืนจากขยะฝังกลบ
ช่วงเวลานี้ฝั่งตะวันกำลังอยู่ในเทรนด์”วัสดุรักษ์โลก”กำลังเป็นที่นิยมในวงการต่างๆ รวมถึงวงการ3D Printing ด้วยเช่นกัน บริษัท UBQ Materials ได้ทำการจับมือกับบริษัทR&Dด้านพลาสติก Plastic App ในการสรา้งFilamentที่ทำจากขยะที่ถูกฝังกลบ ทีมวิจัยได้กล่าวว่าวัสดุที่พวกเขาผลิตนั้นช่วยลดร่อยรอยคาร์บอนลงอย่างมากเมื่อเทียบกับพลาสติกที่ผลิตจากน้ำมันดิบแบบทั่วๆไป เนื่องจากการผลิตวัสดุนี้ทำมากจากการนำขยะที่ถูกฝังกลบไปแล้วมาปั่นบดเพื่อเข้าสู่กระบวนการทำเม็ดพลาสติกอีกครั้งและนำมาใช้ในกระบวนการฉีดขึ้นรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆและการขึ้นรูปเป็นเส้นใย หลังจากที่ทีมนี้ได้ประสบความสำเร็จในการทำพลาสติกจากขยะขึ้นมาใช้งานได้สำเร็จ ก็ได้ทำการพัฒนาต่อเพื่อที่จะใช้พลาสติกเหล่านี้เพื่อที่จะใช้ในเครื่อง3D Printer เพราะการใช้พลาสติกด้วยกระบวนการ3D Printing นั้นก็เป็นการลดร่องรอยคาร์บอนอยู่แล้ว เนื่องจากจะพลาสติกน้อยลงกว่าการผลิตแบบทั่วไป อีกทั้งการใช้3D Printing ยังสามารถสรา้งชิ้นงานต้นแบบ อุปกรณ์จับยืด และชิ้นส่วนอะไหล่ต่างๆได้และยังสามารถประยุกต์ไปได้อีกหลายๆทาง
Filamentย่อยสลายได้100%
บริษัทผลิตFilamentสำหรับ3D printer ในประเทศสาธารณรัฐเช็คประสบความสำเร็จการผลิตFilamentที่ทำจากวัสดุย่อยสลายได้แบบ100% โดยที่เจ้าFilamentตัวนี้จะเกิดจากการผสมกันระหว่างโพลีแลคติก(PLA)กับโพลีไฮดรอกบิวทิเรต(PHB) ที่จะทำให้เส้นตัวนี้มีความแข็งแรงมากขึ้นและยังมีคุณสมบัติที่ทนต่ออุณหภูมิสุงได้ถึงขั้นเอามาทำแก้วกาแฟได้เลย และที่สำคัญFilamentนี้ยังสามารถนำมาใช้ซ้ำได้ทั้งหมด ***โพลีไฮดรอกบิวทิเรต(PHB)คือ พลาสติกที่สังเคราะห์มาจากสารประกอบคาร์บอนของวัสดุอินทรียสาร โดยดั้งเดิมนำมาจากเซลล์ของจุลินทรีย์ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตสุงทำให้ไม่เป็นที่นิยมในบ้านเราและใช้งานเฉพาะด้านเท่านั้น ต่อมาได้ทำการใช้สารประกอบคาร์บอนจากผลผลิตทางการเกษตรแทน เช่น อ้อย มันสำปะหลัง(แหล่งกำเนิดเดียวกับPLA) ก่อนหน้านี้ได้มีการวิจัยพลาสติกย่อยสลายได้โดยการสรา้งออกโซ-ไบโอพลาสติก ซึ่งเป็นพลาสติกธรรมดาที่เติมสารที่ทีให้ย่อยสลายได้เมื่อมีออกซิเจน แต่อย่างไรก็ตามยังไม่สามารถย่อยสลายได้หมดซึ่งอาจทำให้มีสารพิษตกค้างสู่พื้นดินและทะเล การวิจัยในครั้งนี้ได้มีการร่วมมืแกันรหว่างผู้ผลิตกับมหาวิทยาลัยเทคนิคสโลวัคในประเทศสโลวาเกียเพื่อที่จะให้ได้ซึ่งพลาสติกที่สามารถย่อยสลายได้อย่าง100% โดยเป้าหมายหลักคือพลาสติกชนิดนี้ต้องสามารถนำไปใส่ในปุ๋ยหมักกับเศษอาหารจากโรงงานและจากครัวเรือนวึ่งการย่อยสลายจะเร็วกว่าPLAถึง3เท่าตัวเลยทีเดียว โดยสารPHBจะทำให้เกิดกระบวนการย่อยสลายได้เร็วขึ้น Filament ชินดนี้ได้ใช้ในชื่อ NonOilen โดยคุณสมบัติเส้นชนิดนี้ทั่วๆไปนั้นมันคือPLAดีๆนี่เอง แต่สิ่งที่แตกต่างกันก็คือมีความแข็ง ความเหนียวที่เหนือกว่าถึงหลาเท่าตัวอีกทั้งยังสามารถทนความร้อนได้สูงถึง110องศาเซลเซียส(ABSทนได้อยู่ที่105องศาเซลซียส)
รู้จักการทำแม่พิมพ์(Mold)สำหรับการฉีดขึ้นรูปพลาสติกด้วย 3D Printing
ผลิตภัณฑ์ที่ทำจากพลาสติกส่วนใหญ่บนโลกใบนี้นั้นขึ้นรูปโดยการฉีดขึ้นรูปโดยการใช้แม่พิมพ์(Mold) แต่การผลิตแม่พิมพ์ขึ้นมานั้นมีราคาค่อนข้างแพงและต้องใช้เวลานานเพราะแม่พิมพ์ส่วนใหญ่นั้นทำจากโลหะจึงทำการที่จะผลิตชิ้นงานจำนวนน้อยชิ้น ระบบการพิมพ์ SLA นั้นเป็นทางเลือกหนึ่งที่คุ้มค่าสำหรับการพิมพ์แม่พิมพ์เพื่อนำมาใช้ในการขึ้นรูปโมลด์อลูมิเนียม ด้วยวัสดุเรซิ่นที่มีคุณสมบัติแข็งและมีความเป็นไอโซโทรปิค(มีความสม่ำเสมอของเนื้อวัสดุ) และตัววัสดุเองก็ยังความสามารถในการเบี่ยงเบนความร้อนได้มากถึง238องศาเซลเซียส ที่ความดัน 0.45 เมกะปาสคาส นั่นหมายความว่าสามารถทนความร้อนและแรงดันเพียงพอที่จะทำแม่พิมพ์ ด้วยเครื่องพิมพ์สามมิติแบบตั้งโต๊ะที่ราคาไม่แพง วัสดุทนความร้อน และเครื่องฉีดพลาสติก ทำให้เป็นไปได้ที่จะทำการสร้างแต่พิมพ์ต้นแบบได้ทันทีที่บ้านเพื่อที่จะสร้างชิ้นงานต้นแบบขนาดเล็กในปริมาณที่ไม่สูงมาก(ประมาณ10-1000ชิ้น) การพิมพ์แม่พิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์สามมิติจะทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายและเวลาลงอย่างมากเมื่อเทียบกับการหล่อแม่พิมพ์โลหะ อีกทั้งยังช่วยให้ทีมวิศวกรได้ทำการปรับปรุงแม่พิมพ์ได้อย่างต่อเนื่องทำให้การพัฒนาแม่พิมพ์ทำได้อย่างต่อเนื่องด้วยต้นทุนที่ต่ำ เครื่องพิมพ์ระบบ SLA เป็นตัวเลือกที่ดีที่สุดในการทำแม่พิมพ์ คุณลักษณะของระบบนี้คือการพิมพ์งานที่ได้พื้นผิวที่เรียบเนียนและมีความแม่นยำสูงมาก นั่นทำให้หลังจากพิมพ์งานมาแล้วทำให้แม่พิมพ์นำไปใช้ได้เลย งานพิมพ์จากรระบบSLA มีพันธะเคมีที่แข็งแรง มีความหนาแน่นของชิ้นงานมากและมีความเป็นไอโซโทรปิกที่สูงมากอีกด้วย(มีความสม่ำเสมอของเนื้อชิ้นงาน)
รีวิว EinScan SE สแกนเนอร์ 3มิติ บนแท่นหมุนอัตโนมัติ Update 2021!!
video การแกะกล่อง Einscan SE ความสามารถของ Software ใหม่ https://www.print3dd.com/einscan-se-sp-update-software/